วันอาทิตย์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2555

กากี




   
    กากีนับเป็นนางเอกที่อื้อฉาวที่สุดก็ว่าได้ นางกากีนี้นอกจากจะมีรูปกายงดงามราวกับเทพธิดาแล้ว ยังมีกลิ่นกายหอมเป็นเสน่ห์พิเศษอีกอย่างหนึ่ง ชายใดที่แตะต้องสัมผัสนางกลิ่นกายนางก็จะหอมติดชายคนนั้นไปถึงเจ็ดวันเลยทีเดียว นางกากีเป็นพระมเหสีของท้าวบรมพรหมทัต ซึ่งโปรดการเล่นสกามาก และมีพระยาครุฑเวนไตยซึ่งแปลงร่างเป็นมานพรูปงามมาเล่นสกาอยู่ด้วยเนืองๆ จนวันหนึ่งเล่นเพลิน มิได้ไปหานางกากี นางจึงมาแอบดู และสบตาเข้ากับพระยาครุฑแปลง ต่างก็เกิดอาการหวั่นไหว ภาษาสมัยใหม่ก็ต้องว่าเกิดอาการ”ปิ๊ง”กัน ต่อมาพระยาครุฑได้บินมาลักพานางไปอยู่ที่วิมานฉิมพลี ทำให้ท้าวพรหมทัตกลัดกลุ้มพระทัย คนธรรพ์นาฏกุเวร (คนธรรพ์คือเทวดาชั้นผู้น้อยที่มีความชำนาญด้านดนตรี) ซึ่งเป็นพี่เลี้ยงของท่านท้าวก็อาสาจะพานางกลับมาให้ จึงได้แปลงตัวเป็นไรแทรกขนครุฑตามไปวิมานของครุฑ ครั้นพระยาครุฑบินออกไปหาอาหาร นาฏกุเวรคนธรรพ์ก็ออกมา แต่แทนที่จะพานางกลับเมือง กลับเกี้ยวพาและเล้าโลมนางจนได้เสียกัน แล้วกลับมารายงานท่านท้าวว่านางกากีจะอยู่กับครุฑและตนได้เสียกับนางแล้วเพื่อให้ครุฑรังเกียจนาง ท่านท้าวก็โกรธแต่ทำอะไรมิได้ ต่อมาพระยาครุฑแปลงมาเล่นสกาอีก ก็ถูกคนธรรพ์เล่นพิณเยาะเย้ย เมื่อสอบถามได้ความจริง พระยาครุฑก็โกรธนางกากี นำกลับมาปล่อยไว้ในเมือง ครั้นท่านท้าวเห็นนางก็ว่าถากถางและนำนางไปลอยแพกลางทะเล ต่อมานางได้รับความช่วยเหลือจากนายสำเภา ซึ่งได้รับนางเป็นภรรยา แต่เคราะห์กรรมนางก็ยังไม่หมด ต่อมาถูกนายโจรมาลักพาตัวไปเพราะหลงใหลในความงาม ปรากฏว่าในหมู่โจรก็เกิดการแย่งชิงนางขึ้นมาอีก นางหนีไปได้ ต่อมาได้เป็นมเหสีของท้าวทศวงศ์ กษัตริย์อีกเมือง สุดท้ายปรากฏว่านาฏกุเวรที่ได้ครองเมืองแทนท้าวบรมพรหมทัตที่สวรรคตลง ก็ตามไปชิงนางคืนมาและฆ่าท้าวทศวงศ์เสีย เรื่องก็จบลง นับดูแล้วนางกากีมีสามีถึง ๕ คน แสดงว่าต้องเป็นคนที่เซ็กซี่มีเสน่ห์ดึงดูดเพศตรงข้ามอย่างมาก จึงต้องตกระกำลำบากถูกสังคมประณามเพราะเสน่ห์แรงเกินไปนี่เอง ....

วันศุกร์ที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2555

songkran





The history of songkran...

Deriving from the Sanskrit language, the word Songkran means to pass or to move into. In this context, the meaning implies to the passing and the moving of the sun, the moon and the other planets into one of the zodiacal orbits. And the Grand Songkran Festival which falls in Aries indicates the new era of the Thai New Year. Owing to the ancient Indian belief, the Grand Songkran Festival is most appropriate to be the Thai New Year due to the timing of the best season which is known as the spring of India which comes right after the cold season of winter. Also, there are other aspects supporting this belief such as blooming flowers, the fresh atmosphere of nature and the livelihood of all living creatures.


With the great influence from the Indians, the Songkran Festival portrays the typical ways of life of the Thais which involve the agricultural aspects. Free from their regular routine work, the Thai citizens will find time to perform their annual rites of showing respect to their ancestors. The highlight of the festival will include the younger Thais paying respect to their elders by sprinkling their hands with scented water. And in order to welcome the New Year, the celebration will include the delightful colourful local entertainment, which in fact, suitably unites the mutual relationship between members of the family, society, nature and the surroundings. Therefore, this Songkran Festival has proved to be the most important and grandest festival of the year. Moreover, our neighbouring countries such as Myanmar, Cambodia and Lao PDR. have also organised this type of festival.


During the Sukhothai period, the Songkran Festival was practised both in the royal court palace and among the ordinary citizens. However, the size of the celebration was not as elaborate as of today. Back in those days, civil servants and other government officials would pay homage to the king, and would drink the oath of allegiance to the king or the government, while the king would provide an annual salary to all officials. Later on in the Ayutthaya period, the festival was expanded by including the bathing of the Buddha image. Also, the festivities would include the forming of sand pagodas and entertaining celebrations. In the Rattanakosin period, the rituals have been conducted in a similar pattern as those during the Ayutthaya period.